Dot Matrix
- มีส่วนที่เป็นห้วพิมพ์ที่เป็นเข็มเรียงกันอยู่ในแนวตั้ง มี 2 แบบคือ แบบ 9 เข็ม และแบบ24 โดยจะมี 2 แถว แถวละ 12 เข็มเยื้องกัน
- มีโอกาสที่กระดาษจะติด
- ข้อควรระวัง คือ จะต้องปิดเครื่องหลังกระดาษติด ห้ามดึงกระดาษ เพราะว่าจะทำให้เข็มหักได้
Laser Printer
- ใช้หลักเหมือนเครื่องถ่ายเอกสาร โดยใช้หลักไฟฟ้าสถิต
- มีลูกกลิ้ง 3 กลุ่ม และมี ตลับหมึกติดกับลูกกลิ้ง
- เวลาพิมพ์
- เครื่องจะสแกนตัวที่จะพิมพ์แล้วทำให้ลูกกลิ้งมีประจุลบ (ใช้ไฟฟ้าสถิตร่างภาพบนลูกกลิ้ง)
- ใช้เลเซอร์ ยิงตามลูกกลิ้งจะทำให้จุดนั้นประจุไฟฟ้าหายไป
- ลูกกลิ้งจะถูกทำให้ผ่านผงหมึกที่มีประจุลบ
- จุดที่ไม่มีประจุจะติดผงหมึก
- จากนั้นผ่านลูกกลิ้งร้อนทำให้หมึกละลายติดกระดาษ
- Laser สี จะมีการกลิ้งผ่าน 3 รอบ ผ่านแม่สี 3สี (R G B) รวมได้สีขาว บางทีมี 4สี (C M Y K ) cyan ฟ้าอ่อน –magenta ม่วง -yellow black
Inkjet Printer
- ใช้วิธีฉีกหมึก โดยพ่นหมึกเป็นละอองเล็กๆ โดยหมึกแบบนี้จะละลายน้ำได้
- ข้อเสีย คือคุณภาพของการพิมพ์ขึ้นอยู่กับกระดาษ ถ้าเนื้อไม่ละเอียดมากจะไม่สามารถใช้ได้
2.Monitor
จอ CRT
- เป็นหลอดรังสีประจุลบ โดยรังสีวิ่งไปได้โดยไม่ต้องใช้ตัวกลาง
- ภายในประกอบด้วยหลอดภาพยาว ด้านหลังมีประจุ e ด้านหน้าจอเป็นกระจกเคลือบด้วยสารเรืองแสง โดยจะเรืองแสงเมื่อถูกยิงด้วย ประจุe
- ถ้าต้องการให้เกิดการเบี่ยงเบนจะใช้สนามแม่เหล็กที่มีขดลวด เหนี่ยวนำ
- เมื่อลำ e กวาดผ่าน จุดที่สว่างจะค่อยๆมืด มีการกวาด 2แนว คือแนวตั้งกับแนวนอน
- ความเร็วที่เหมาะสมในการกวาดคือ72Hz ขึ้นไป
- ข้อเสีย เวลาภาพเคลื่อนไหวจะเกิด เงา (เป็นเฉพาะรุ่นแรกๆ)
- ถ้าเป็นจอสีจะมีกลุ่มสีอยู่ 3 จุด และมีปืนยิง 3กระบอก
หมายเหตุ
- Interlace เป็นการสแกนสลับ โดยความถี่ของทีวีที่บ้าน จะประมาณ 50Hz มี 625 แถว เกิดการเหลือมกันของการสแกน โดยมีการสแกนเส้นคี่ก่อนเส้นคู่
จอ LCD
ใช้หลักการ นึกถึงแผ่นโพลาลอยด์ ที่ยอมให้มีการ Polarization ด้านเดียว โดยจะมีการสแกนแบบ Matrix - ต่างจาก CRT ตรงที่ ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง เหตุที่มองเห็นเพราะว่ามีเงาด้านหลังออกมา
กระบวณการทำงาน คือมีแผ่นโพลารอยด์ แนวตั้ง+นอน มีผลึกของเหลว ถ้ามีการปล่อยพลังงานจะมีการบิดตัว เมื่อปล่อยสนามไฟฟ้าไปจะเกิดการเรียงตัวใหม่ โดยจุดที่มีการเปลี่ยนจะเกิดภาพ เพราะว่าแสงผ่านแผ่นได้ - เมื่อไม่มีแสง
1. ใส่แผ่นสะท้อนไว้ด้านหลัง เช่นหน้าปัดนาฬิกา
2. ใส่แหล่งกำเนิดแสงด้านหลัง - ข้อเสียของแผ่นโพลารอยด์ คือเวลามองเฉียงๆ จะมีคุณภาพลดลง และมีมุมมองของภาพแคบ
- เวลาซื้อให้ทดสอบโดยเปิดจอสีดำล้วน หรือขาวล้วน โดยการรับประกันจะเกิดเมื่อเกิดเป็นจุดติดๆกัน
- จอสี จะใช้แสงส่องโดยใส่ filter สี
TFT(Thin Film Transistor) LCD
- เนื่องจากการใช้กระแส ไฟฟ้าเพื่อให้ liquid บิด(เพื่อให้แสงผ่านได้) ของ LCD ปกติทำด้วยวิธีการ scan แบบ matrix
- ซึ่งอาจทำให้ภาพที่ได้ไม่ชัดเพราะว่า ตำแหน่งจุดที่อยู่ข้างๆ อาจจะได้รับไฟไปด้วย (ซึ่งทำให้แสดงแสงซ้อนกัน)
- ประมาณว่า ไฟวิ่งผ่านไปทั้งแกน y จนกว่า จะเจอที่มาตัดจาก แกน x
- TFT เป็นแผ่น transister ที่ทำหน้าที่คล้ายๆ ตัวเก็บประจุ ซึ่งสามารถส่งไฟในตำแหน่งใดๆ ของแผ่นได้เลย
- เมื่อนำ TFT มา สอดขนาบ liquid ทำให้ได้ภาพที่ชัดกว่า
------------------------ : ตัวกรองแสง(แผ่นpolariod)********************//// : สอดอันนี้------------------------ : ชั้น Liquid********************//// : สอดอันนี้------------------------ : ตัวกรองแสง(แผ่นpolariod) - เมื่อมีการสแกนผ่านผลึกจะมีสารเรืองแสง แต่ไม่มีสารที่มีคุณสมบัติตามต้องการจึงมีการใช้ Thin Film Transistor มาเพิ่ม (เป็น LCD แบบ Active)
- Thin Film Transistor ทำให้เกิดโครงสร้างระฆังคว่ำเบ้ซ้าย มีการใส่วงจรเข้าไป โดยใส่ไฟแรงสูงจากนั้นค่อยๆปล่อย โดยวงจรนี้จะทำงานกับจุด 1 จุดเท่านั้น ทำให้มีข้อเสียคือ ถ้าวงจรเสีย จุดวงจรก็จะเพี้ยน เกิด death pixel, bright pixel (งงหว่ะ)
จอ OLED
OLED monitor
OLED เป็นสารกึ่งตัวนำที่นำมาใช้เป็นสารประกอบอินทรีย์
- แต่ละจุดของจอประกอบด้วยจุดย่อยๆที่เปล่งแสงได้ด้วยตัวมันเอง
- LED <> มีการเปล่งแสงโดยการเปลี่ยนของ วาเลนซ e เปลี่ยนวงโคจร จะทำให้ไม่เกิดความร้อนและมีประสิทธิภาพสูง แต่ยังไม่ได้รัยความนิยม เพราะว่ายังไม่สว่างพอ
- ข้อดี คือเป็นแผ่นบาง โค้งงอได้ ข้อเสียคือ แพง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น